กันไว้ก่อน! วิธี​ป้องกัน​น้ำท่วมเข้าบ้าน​ ได้ผลจริง ก่อนข้าวของพัง


หมวดหมู่:

feature-image_singlepost-กันไว้ก่อน! วิธี​ป้องกัน​น้ำท่วมเข้าบ้าน​ ได้ผลจริง ก่อนข้าวของพัง

สิ่งที่คนไทยต้องเผชิญอย่างไม่อาจหลีกเลี่ยงได้ก็คือ ปัญหาน้ำท่วมหนัก ที่ถือว่าเป็นภัยพิบัติจากธรรมชาติที่หลีกเลี่ยงได้ยาก โดยเฉพาะประเทศไทยที่มีฝนตกชุก จึงมีความเสี่ยงที่จะเกิดน้ำท่วมได้ตลอดเวลา ซึ่ง วิธีป้องกันน้ำท่วมเข้าบ้าน ก่อนที่โครงสร้างบ้าน ข้าวของเครื่องใช้ เฟอร์นิเจอร์ต่าง ๆ ก็จะได้รับความเสียหาย มีอยู่หลายวิธี โดยแต่ละวิธีมีระดับความยากง่ายแตกต่างกันไป มาดูกันว่า 10 วิธีที่ทาง Ruay รวบรวมมาให้ในบทความนี้ มีวิธีไหนที่เหมาะสมกับบ้านของคุณมากที่สุด

10 วิธี​ป้องกัน​น้ำท่วมเข้าบ้าน​ ได้ผลจริง

ป้องกันน้ำท่วมบ้าน

วิธีป้องกันน้ำท่วมเข้าบ้าน ก่อนของพังเพราะน้ำท่วมมาขังอยู่ในบ้าน เพื่อลดความเสียหายที่อาจจะเกิดขึ้น และจะได้ไม่ต้องคอยทำความสะอาดทีหลัง ได้แก่

1. ยกระดับพื้นบ้านให้สูงขึ้น

เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดปัญหาน้ำท่วมบ้าน สิ่งแรกที่ต้องปรับเปลี่ยนคือการยกระดับพื้นให้สูงขึ้น โดยสามารถทำได้ด้วยการถมดินให้สูง หรือยกพื้นให้สูง อีกหนึ่งสิ่งที่ไม่ควรละเลยคือ การปรับพื้นให้มีความลาดเอียงไปยังท่อระบายน้ำ เพราะหากพื้นที่บ้านต่ำกว่าท่อระบายน้ำ จะส่งผลให้น้ำไม่สามารถระบายลงท่อ และทำให้เกิดน้ำท่วมขังภายในบ้าน

สำหรับการแก้ปัญหายกระดับพื้นบ้านชั้นล่าง ให้มีความสูงเท่ากับระดับถนน เหมาะกับบ้านที่มีความสูงไม่ต่างกันประมาณครึ่งหนึ่ง-หนึ่งฟุตครึ่ง ส่วนในกรณีที่เป็นบ้านเดี่ยวแนะนำให้แก้ไขด้วยการดีดยกบ้านทั้งหลัง  แต่หากพื้นถนนสูงกว่าพื้นบ้านชั้นล่างครึ่งหนึ่ง ให้พิจารณาจากความสูงของบ้าน ถ้าต้องการยกพื้นให้สูงขึ้นเท่ากับถนน ต้องทำการทุบพื้นเก่าทิ้งเสียก่อน จากนั้นทำกานหล่อคานปูนเสริมจากคานให้สูงขึ้น และทำคานเหล็กยึดกับเสาบ้าน

365kub
ปั่นสล็อต เริ่ม 1 บาท อัตราจ่ายสูง ที่ 365KUB

2. ติดตั้งโครงเหล็กยกสูง

ถ้าพื้นบ้านชั้นล่างที่ต่ำกว่าถนนไม่มีปัญหาน้ำรั่วซึมจากพื้น แนะนำให้ทำโครงเหล็กสูง จากนั้นปูแผ่นซีเมนต์บอร์ด เนื่องจากเป็นวัสดุที่มีน้ำหนักเบา เดินท่อใต้พื้นดินได้ดี

3. กระสอบทราย

อุปกรณ์ป้องกันน้ำเข้าบ้านที่สามารถทำเองได้ เริ่มจากใส่ทรายลงในกระสอบประมาณครึ่งถุง มัดปากถุงให้แน่น จากนั้นวางกระสอบทรายในแนวนอนหรือขนานไปกับทางน้ำไหล โดยหันปากถุงเข้าหาพื้นที่แห้ง แล้วจัดเรียงชั้นกระสอบทรายเป็นทรงสามเหลี่ยมพีระมิด โดยทำฐานให้กว้างกว่าความสูง 3 เท่า และวางแนวกระสอบทรายห่างจากผนังบ้านหรืออาคารอย่างน้อย 2-5 เมตร เพื่อป้องกันโครงสร้างบ้านเสียหายและสังเกตรอยรั่วได้ง่าย 

ส่วนการป้องกันน้ำเข้าบ้านทางท่อระบายน้ำ ทำได้โดยหย่อนถุงทรายลงไปในท่อประมาณ 2 ถุง ทั้งนี้ควรเหลือหางเชือกไว้ยาว ๆ สำหรับดึงกระสอบขึ้น เสร็จแล้วขยำหนังสือพิมพ์เป็นก้อนกลมใส่ตามลงไปเพื่อให้ยุ่ยปิดการรั่วซึม แล้ววางทับด้วยกระสอบทรายอีกชั้น ก็ช่วยป้องกันน้ำเข้าบ้านเบื้องต้นได้

LOTTOVIP
สมัครเลย LottoVIP แทงหวย จ่ายจริง จ่ายไว

4. ถุงน้ำสร้างคันกั้นน้ำ

เป็นอีกวิธีหนึ่งที่ใช้ได้ผล ใช้วิธีเดียวกับการใช้กระสอบทราย โดยนำถุงดำชนิดเหนียวพิเศษใส่ซ้อนกัน 2 ใบหรือมากกว่า แล้วเติมน้ำลงไปจนเกือบเต็ม จากนั้นมัดปากถุงให้แน่นด้วยเคเบิลไทร์ แล้วค่อยยกถุงน้ำไปวางเรียงเป็นทรงสามเหลี่ยมพีระมิด ทั้งนี้นำแผ่นไม้อัดมาวางคั่นระหว่างแถวด้วย 

เพื่อรักษาถุงน้ำให้อยู่ทรงและเสริมคันกั้นน้ำให้แข็งแรง สามารถรับแรงดันได้มากขึ้น เสริมให้แข็งแรง ไม่ล้มง่าย นอกจากนี้หากไม่มีอุปกรณ์สามารถนำขวดน้ำหรือถังน้ำมาใช้ทดแทนกัน แล้วคอยอุดรอยรั่วซึมให้ดี

5. ฟิวเจอร์บอร์ดกันน้ำไหลเข้าบ้าน

ใครจะไปคิดว่าแผ่นพลาสติกแข็งที่เราใช้ทำงาน มีความเหนียวที่สามารถนำมาใช้อุดช่องว่างประตูบ้าน หรือบริเวณรั้วที่น้ำซึมเข้าบ้านได้ โดยบริเวณกำแพงโปร่งที่มีช่องแสงเล็ก ๆ ให้นำฟิวเจอร์บอร์ดมาปิดช่องว่างบนผนังจากนอกบ้าน แล้วตอกตะปู ยิงซิลิโคน หรือปิดด้วยเทปกาวให้แน่น 

นำแผ่นพลาสติกหรือถุงดำมาคลุมแล้วปิดชายด้านบนด้วยเทปกาวให้แน่น โดยติดเหนือขอบแผ่นฟิวเจอร์บอร์ดเล็กน้อย แล้วปล่อยชายแผ่นพลาสติกลาดไปกับพื้นประมาณ 20 เซนติเมตร ก่อนนำอิฐหรือกระถางต้นไม้มาวางทับ เมื่อน้ำไหลมาก็จะเกิดแรงกดให้ถุงดำแนบไปกับพื้นและผนัง ช่วยป้องกันน้ำเข้าบ้านได้อีกทาง

https://www.ruay365.com
อยากแทงหวยอะไร ซื้อที่ https://ruay365.com ก็มีให้เล่นครบ

6. แผงกั้นน้ำท่วม

การทำแผงกั้นน้ำท่วมสามารถทำได้ 2 วิธี 

  • วิธีแรกใช้สำหรับปิดฐานราก ช่องระบาย และหน้าต่าง เริ่มจากตัดแถบสักหลาดหรือแผ่นยางให้มีขนาดใหญ่กว่าช่องที่ต้องการจะอุดรอยรั่ว ประกบเข้ากับกรอบไม้ แล้วตอกตะปูติดให้แน่น 
  • วิธีที่สองสำหรับวิธีป้องกันน้ำเข้าทางประตูบ้าน ทำได้โดยตัดโฟมยางหรือแผ่นกาว เพื่อทำเป็นปะเก็นความกว้างเท่ากับวงกบประตูที่ต้องการจะติดตั้ง จากนั้นนำแผ่นไม้มาตอกปิดอีกชั้น แล้วยิงซิลิโคนอุดรอยรั่วก็เสร็จเรียบร้อย 

7. บานเหล็กกันน้ำท่วม

หากมีแผ่นเหล็กหรือบานประตูเหล็กก็นำมาใช้ได้เช่นกัน  เหมาะสำหรับประตูรั้วบ้าน โดยนำเสากลางติดตั้งกับรางประตู แล้วเชื่อมเข้ากับบานเหล็ก จากนั้นใช้ดินน้ำมันหรือยิงซิลิโคนอุดรอยรั่วป้องกันน้ำซึม แล้วค่อยติดตั้งเสาค้ำยันเสริมความแข็งแรง ส่วนการติดตั้งวัสดุผนังสำเร็จรูป เช่น แผ่นไฟเบอร์ซีเมนต์บอร์ด ก็ทำได้เช่นกันโดยขึ้นโครงเหล็กพับแล้วติดตั้งวัสดุที่จะใช้ลงไป อุดรอยต่อด้วยวัสดุยาแนว พร้อมกับใช้ผ้าใบหรือแผ่นพลาสติกคลุมอีกชั้นป้องกันน้ำซึม

https://www.เศรษฐี6.com
หวยออนไลน์ จ่ายบาทละ 950 ที่ https://เศรษฐี6.com

8. ก่ออิฐกันน้ำ

การก่ออิฐกันน้ำทำได้โดยวางอิฐบล็อกแนวสลับแบบเดียวกับการวางกระสอบทราย นำแผ่นพลาสติกหรือผ้าใบคลุมด้านหน้าของกำแพง ปิดเทปกาวและวางก้อนอิฐที่เหลือทับชายด้านบน แล้วนำถุงทรายวางทับชายด้านล่างเอาไว้ ทั้งนี้วิธีดังกล่าวเหมาะสำหรับป้องกันน้ำเข้าบ้านได้เบื้องต้น โดยควรสร้างห่างจากตัวบ้านและไม่ควรก่ออิฐบล็อกเกิน 30 เซนติเมตร เพราะหากมีความสูงมากกว่านี้อาจจะสร้างความเสียหายกับโครงสร้างบ้านได้

9. สร้างขอบคันกั้นน้ำ

วิธีที่ช่วยแก้ปัญหาน้ำไหลเข้าบ้านอีกหนึ่งวิธี คือ การทำขอบคันกั้นน้ำ และขุดบ่อดักไว้ จากนั้นใช้ปั๊มสูบน้ำให้ออกไปข้างนอก ส่วนกรณีที่น้ำไหลย้อนมาทางท่อระบายน้ำ แนะนำให้อุดปิดบริเวณปากท่อ รวมถึงต่อขอบบ่อพักให้สูงขึ้น อีกทั้งการติดตั้งปั๊มจุ่มก็มีส่วยช่วยสูบน้ำออกป้องกันปัญหาน้ำท่วมขังภายในบ้านได้ดีเช่นกัน

https://www.lottoup5.com
เว็บใหม่ https://lottoup5.com เปิดแทงหวย 24 ชม.

10. การป้องกันน้ำขังสำหรับบ้านเก่า

แนะนำให้ใช้ถังบำบัดแทนบ่อเกรอะซึมบ่อ เพราะถ้าปริมาณน้ำในดินมีมาก จะทำให้ระบายน้ำทิ้งไม่สะดวก อีกทั้งในช่วงหน้าฝนจะมีน้ำในดินค่อนข้างเยอะรอบๆ บ่อซึม ทำให้ปริมาณน้ำในบ่อสูง ส่งผลให้รับน้ำที่ชำระในโถสุขภัณฑ์ได้น้อย มีส่วนทำให้ระบายน้ำได้ช้า และมีปัญหาตามมาภายหลัง

วิธีดูแลบ้านหลังน้ำท่วม

น้ำท่วมบ้าน

ตรวจเช็คระบบไฟฟ้า

อันตรายที่มาพร้อมกับน้ำท่วมคือ ไฟฟ้ารั่ว ไฟฟ้าดูด จำเป็นต้องให้ช่างมาตรวจสอบ หรือหากพบว่าระบบไฟฟ้า เช่น เบรกเกอร์ยังเปิดใช้งานอยู่ ให้รีบปิดระบบไฟฟ้าทันทีด้วยความระมัดระวัง พร้อมกับใส่ถุงมือหรือผ้าแห้งเพื่อป้องกันไฟดูด อุปกรณ์หรือเครื่องใช้ไฟฟ้าที่ถูกน้ำท่วม หากไฟฟ้าไม่ลัดวงจร ก็อาจจะซ่อมแซมให้กลับมาใช้ได้ ทางที่ดีแนะนำให้ผู้ที่ความเชี่ยวชาญด้านไฟฟ้าโดยเฉพาะมาทำดีกว่าทำเอง

เฟอร์นิเจอร์ที่ทำจากไม้ ห้ามนำไปตากแดด

สำหรับบ้านไหนที่มีประตูและของข้าวของเครื่องใช้ที่ทำจากไม้ที่ถูกน้ำท่วม อาจมีอาการบวม พอง ห้ามนำไปตากแดด เพราะจะทำให้รูปทรงโก่ง หรือยืดงอได้ ควรทำแค่ผึ่งลมในที่ร่มจนกว่าจะแห้งสนิท

ไม่ต้องรีบทาสีใหม่

น้ำท่วมจะทิ้งรอยสกปรกและคราบต่าง ๆ รวมทั้งความชื้นไว้ อาจจะดูไม่สวยงามขัดหูขัดตา แต่ก็ปล่อยทิ้งไว้แบบนั้นก่อน เพราะพื้นผนังที่สะสมความชื้นไว้ หากทาสีใหม่ทับทั้งที่ยังไม่แห้งสนิท ไม่นานก็จะหลุดร่อนออกมา ทำให้สิ้นเปลือง ควรทำความสะอาดแล้วปล่อยทิ้งไว้ 2-3 เดือน แล้วค่อยทาสีใหม่

ระวังสัตว์มีพิษ

หลังน้ำลดใหม่ ๆ การเข้าตรวจตราข้าวของเครื่องใช้ ซอกมุม จุดอับต่าง ๆ ในบ้าน มักมีสัตว์มีพิษ เช่น งู ตะขาบ แมงป่อง ฯลฯ มาหลบซุกซ่อนอยู่ หากไม่ระวังอาจจะทำให้เกิดอันตรายได้ 

ระวังฝ้าเพดานถล่ม

หากบ้านถูกน้ำท่วมสูง อาจทำให้ผนังหรือฝ้าเพดานได้รับผลกระทบ ฝ้าเพดานส่วนใหญ่ทำจากแผ่นยิบซั่มที่อมน้ำ หากมีการอมน้ำทำให้น้ำหนักมากหรือแอ่นตัว อาจจะหลุดร่วงลงมาจนเกิดอันตรายได้ ควรสังเกตร่องรอยให้ดี

สรุป

หากพบปัญหาน้ำท่วมบ้านอย่าได้นิ่งนอนใจเป็นขาด ไม่ว่าจะท่วมเยอะ หรือท่วมน้อย ก็ส่งผลเสียได้หลายด้าน เพราะฉะนั้นต้องรีบทำการแก้ไข วางแผนรับมือกับ 10 วิธีป้องกันน้ำท่วมเข้าบ้าน ที่เราแนะนำไปให้ดี

และสิ่งสำคัญที่สุดสำหรับวิธีวิธี​ป้องกัน​น้ำท่วมเข้าบ้าน คือ การตรวจเช็คท่อระบายน้ำว่ามีสิ่งอุดตันหรือไม่ เพราะหากมีเศษใบไม้ หรือเศษขยะอุดตัน ก็เป็นต้นเหตุทำให้เกิดน้ำขังภายในบ้านเช่นกัน นอกจากนี้ควรตรวจสอบว่าภายในบ้านมีมีจุดไหนที่เกิดรอยรั่วซึมหรือไม่ เพื่อที่จะได้ทำการแก้ไขอย่างทันท่วงที ไม่เกิดปัญหาใหญ่ทีต้องเสียเงินบานปลายตามมาภายหลัง

สุดท้ายแล้วอย่าลืมติดตามข่าวหวยไทยรัฐ ข่าวหวยไทยรัฐทีวี ข่าวหวยแม่จําเนียร ข่าวหวย ข่าวดัง เลขเด็ด แนวทางหวยลาว หวยฮานอย สิ่งศักดิ์สิทธิ์ เคล็ดลับเสริมดวง ทำนายฝัน ทายนิสัย จากทางเว็บไซต์ของหวยออนไลน์ที่มีมาอัพเดทให้อยู่ทุกวัน รับประกันว่าเซียนหวยทั้งหลายห้ามพลาด

บทความแนะนำอื่นๆที่น่าสนใจ